Friday, June 13, 2014

การเลี้ยงสุกรขุน


1.การเลี้ยงสุกรขุน แหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาชาวบ้าน เรื่องสุกรขุน
โรงเรือน การทำโรงเรือนพอประมาณ คือ ยาว 5 เมตร กว้าง 3.5 เมตร จะเลี้ยงได้ประมาณคอกละ 20 ตัว แล้วก่ออิฐ 1 ก้อน ล้อมคอกบองสุกร และเราต้องตีไม้ล้อมรอบสูงจากอิฐขึ้นไปประมาณ 1 เมตร บริเวณที่ตั้ง กลางที่โล่งให้อากาศถ่ายเทสะดวก เพราะสุกรจะเย็นทำให้สุกรเลี้ยงง่าย และสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ถ้าเลี้ยงหมูแม่พันธุ์ คอกยาว 3 เมตร กว้าง 1.5 เมตร อาหารจะเป็นรำอ่อน และหัวอาหารชนิดแม่พันธุ์
อุปกรณ์การเลี้ยง 1. ถังอาหารประมาณ 2 ถัง 2. ก๊อกน้ำ 3. เครื่องปั้มน้ำ 4. แถ้งน้ำ หรือ ที่เก็บน้ำ 5. สายยาง 6. ไม้กวาด ระบบระบายน้ำ ขุดคลองระบายลงสู่ทุ่งนา
อาหารที่ใช้เลี้ยงสุกร 1. อาหารที่ใช้เลี้ยง คือ ท็อปฟิต ชนิดน้ำนม วิธีการใช้อาหารน้ำนม ให้แก่สุกรตอนออกจากแม่ใหม่ๆ 15 วัน วัตถุดิบประสมได้แก่ น้ำนมสัตว์ ปลาป่น และเนื้อ และกระดูกป่น กากถั่วเหลือง ถั่วเหลืองอบ ข้าวโพดป่น แคลเซียม รำละเอียด ไขมันสัตว์ เกลือ วิตามิน กรดอะมิโน สามารถถนอมคุณภาพอาหารสัตว์
2. อาหารเบอร์ 1 ชื่ออาหารแหลมมอง วิธีการใช้อาหารแหลมทองจาก 15 วัน หรือครึ่งเดือน ถึง 1 เดือนครึ่ง น้ำหนักสุกรประมาณ 30-60 กิโลกรัม วัตถุดิบส่วนผสม คือ ปลาป่น และเนื้อ และกระดูกป่น กากถั่วเหลือง หรือถั่วเหลืองอบ ข้าวโพดป่นหรือปลายข้าว และมัน สำปะหลัง รำละเอียด และรำสกัดน้ำมัน ไขมันสัตว์ และน้ำมันพืช แคลเซียมคาร์บอเนต และไดแคลเซียม ฟอสเฟต และโมโนแคลเซียมฟอสเฟต เกลือ วิตามิน กรดอะมิโน สามารถถนอมคุณภาพอาหารสัตว์ คำเตือน ห้ามนำไปใช้เลี้ยงเคี้ยวเอี้ยง
3. อาหารเบอร์ 2 ชื่ออาหารแหลมมอง วิธีการใช้อาหารแหลมทองจาก 15 วัน หรือครึ่งเดือน ถึงอีก 1 เดือนครึ่ง น้ำหนักสุกรประมาณ 30-60 กิโลกรัม วัตถุดิบส่วนผสม คือ ปลาป่น และเนื้อ และกระดูกป่น กากถั่วเหลือง หรือถั่วเหลืองอบ ข้าวโพดป่นหรือปลายข้าว และมัน สำปะหลัง รำละเอียด และรำสกัดน้ำมัน ไขมันสัตว์ และน้ำมันพืช แคลเซียมคาร์บอเนต และไดแคลเซียม ฟอสเฟต และโมโนแคลเซียมฟอสเฟต เกลือ วิตามิน กรดอะมิโน สามารถถนอมคุณภาพอาหารสัตว์ คำเตือน ห้ามนำไปใช้เลี้ยงเคี้ยวเอี้ยง
4. อาหารเบอร์ 3 ชื่ออาหารแหลมมอง อาหารรวม วิธีการใช้อาหารแหลมทองจาก 3-4 เดือน น้ำหนักสุกรประมาณ 70-100 กิโลกรัม วัตถุดิบส่วนผสม คือ ปลาป่น และเนื้อ และกระดูกป่น กากถั่วเหลืองหรือถั่วเหลืองอบ ข้าวโพดป่นหรือปลายข้าว และมันสำปะหลัง รำละเอียด และรำสกัดน้ำมัน ไขมันสัตว์และน้ำมันพืช แคลเซียมคาร์บอเนต และไดแคลเซียมฟอสเฟต และโมโนแคลเซียมฟอสเฟต เกลือ วิตามิน กรดอะมิโน สามารถถนอมคุณภาพอาหารสัตว์ คำเตือน ห้ามนำไปใช้เลี้ยงเคี้ยวเอี้ยง
คุณภาพของอาหารสัตว์ทางเคมี โปรตีนไม่น้อยกว่า 16 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน ไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ กากไม่มากกว่า 7 เปอร์เซ็นต์ ความชื้นไม่มากกว่า 13 เปอร์เซ็นต์
การเลี้ยงสุกรขุน พอเราเอาออกจากแม่ 30 วัน ขั้นตอนที่ 1 ล้างคอกที่เราจะเอาสุกรไปเลี้ยงให้สะอาดและน้ำยาฆ่าเชื้ออโรค
ขั้นตอนที่ 2 เราก็เอาสุกรที่เราจะเลี้ยงไปใส่คอกอนุบาลก่อนโดยประมาณ 15 วันเพื่อให้สุกรชินกับอาหารและตอนที่อยู่ในคอกอนุบาลอย่าทำให้สุกรเปียกน้ำ เพราะจะทำให้สุกรป่วยหรือเป็นอันตรายได้
ขั้นตอนที่ 3 พอถึง 15 วันแล้วเราก็ต้องฉีดยาฆ่าพยาธิ
ขั้นตอนที่ 4 เราก็ต้องนำเอาสุกรลงสู่คอกใหญ่
ขั้นตอนที่ 6 พอถึง 2 เดือนเราต้องเปลี่ยนอาหารเป็นเบอร์ 2
ขั้นตอนที่ 5 พอสุกรได้ 1 เดือนเราก็เปลี่ยนอาหารจากน้ำนมเป็นอาหารเบอร์ 1
ขั้นตอนที่ 7 พอ 2 เดือนผ่านไปพอถึง 3 เดือนเปลี่ยนอาหารรอมจนถึง 4 เดือนเราก็ขายได้
ข้อควรปฏิบัติ 1. เราต้องทำความสะอาดคอกทุกวันเพื่อไม่ให้สุกรสกปรกมากจนเกินไป 2. เวลาสุกรป่วยเราต้องไปปรึกษาปตุสัตย์
สมาชิกในกลุ่ม 1. นายโกวิทย์ มุละสิวะ เลขที่ 7 2. นายสิรภพ กาหลิบ เลขที่ 5 3. นายศรัญ พสุจันทร์ เลขที่ 10 4. นายศักดิ์ภานุมาส อาจหาญ เลขที่ 11 5. นายภาษิต อินทนาม เลขที่ 4 6. นายปัญจพล เศิกศิริ เลขที่ 8 7. นายศราวุฒิ มุละสิวะ เลขที่ 16 8. นายกฤษณะ เวชกามา เลขที่ 3